คู่มือการลง firmware EasyZone Cloud AP กับ Netgear R6220

From EasyZone wiki
Jump to: navigation, search


คำแนะนำควร reset default อุปกรณ์ เพื่อให้อุปกรณ์ได้ ip 192.168.1.1 ก่อนทำการลง firmware และ ไม่ต่อ internet เข้าอุปกรณ์


ติดตั้งผ่านระบบ Telnet:

1.โหลด firmware

โดยโหลดไฟล์

http://188.166.243.227/firmware/r6220/v2_9_4/openwrt-18.06.2-ramips-mt7621-r6220-squashfs-kernel.bin

http://188.166.243.227/firmware/r6220/v2_9_4/openwrt-18.06.2-ramips-mt7621-r6220-squashfs-rootfs.bin

คัดลอกไฟล์ openwrt-18.06.2-ramips-mt7621-r6220-squashfs-kernel.bin และ openwrt-18.06.2-ramips-mt7621-r6220-squashfs-rootfs.bin ลง USB flash disk และเสียบไปที่ พอท USB ของ router

2. เข้าเว็บ http://[IP-address]/setup.cgi?todo=debug (หากระบบให้กรอก username ให้กรอก รหัสโรงงาน: admin - password)

3. ในหน้าเว็บจะแสดงข้อความ “Debug Enabled!”

4. telnet ไปที่ IP-address ของ router และ login username “root” (รหัสโรงงาน: admin - password)

5. ใช้คำสั่ง ls /mnt/shares/ เพื่อแสดง path ของ USB

6. ใช้คำสั่ง cd /mnt/shares/U

7. พิมพ์คำสั่ง mtd_write write openwrt-18.06.2-ramips-mt7621-r6220-squashfs-rootfs.bin Rootfs

8. พิมพ์คำำสั่ง mtd_write write openwrt-18.06.2-ramips-mt7621-r6220-squashfs-kernel.bin Kernel

9. พิมพ์คำสั่ง reboot

การแอด mac address เข้าระบบ cloud ap stock และ active mac ที่เพื่อจัดการอุปกรณ์

1. เชื่อมสายเน็ตเข้า อุปกรณ์ ที่พอท LAN1-4 พอทใดก็ได้

2. เช็คว่าเครื่องได้ IP อะไร แล้วเช็ค mac address ของ เครื่อง

3. เพิ่ม mac address ในระบบ cloud ap stock

4. นำแมคไป active ที่ hotspot ที่ต้องการในเมนู device/อุปกรณ์

5. หาก cloud ap ของเราอยู่หลัง ระบบ authen เช่น mikrotik หรือ netgear hotspot authen ให้ทำการ bypass เว็บ auto.cloud-hotspot.com เพื่อให้ cloud ap เชื่อมกับ controller ได้

ที่มา https://openwrt.org/toh/netgear/netgear_r6220